วันพฤหัสบดีที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2560

บทที่ 10 การจัดเก็บ การควบคุมสินค้าคงคลังและการเบิกจ่ายสินค้า


บทที่ 10 การจัดเก็บสินค้า การควบคุมสินค้าคงคลังและการเบิกจ่ายสินค้า

วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายกระบวนการจัดเก็บสินค้าได้
2. บริหารจัดการสินค้าคงคลังอย่างมีประสิทธิภาพได้
3. คำนวณและวิเคราะห์อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงคลังได้

สินค้า
1. สินค้ารายวัน
2. สินค้าจัดเก็บ

การควบคุมการเก็บสินค้า (Storing Control)
1. เพื่อควบคุมให้มีวัตถุดิบเพียงพอสำหรับการผลิต
2. เพื่อเก็บรักษาคุณภาพของวัตถุดิบและป้องกันการลักขโมย
3. เพื่อจัดเตรียมเอกสารข้อมูลและทำรายงานสำหรับระบบบัญชี

การแบ่งส่วนพื้นที่จัดเก็บสินค้า
1. Central Storage
                - Dry Storerooms
                - Walk-in Refrigerators
                - Walk-in Freezer
2. In process Storage
                - Work Station
                - Refrigerators
                - Pantry Shelves
                - Behind Bar Area

Inventory Recordkeeping System
1. Financial Accounting Systems
                - Monthly Statement
2. Daily Control Procedures
3. Order Point and Order Quantity

การบันทึกสินค้าคงคลัง
1. Physical Inventory System
                - ระบบตรวจนับสินค้าคงเหลือ
                - มีการตรวจนับและสำรวจสินค้าคงเหลืออย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เป็นการตรวจนับจำนวนหรือปริมาณสินค้า รวมถึงราคาที่ซื้อมา เพื่อบันทึกข้อมูลในบัญชีการเงิน

2. Perpetual Inventory System
                - ระบบบันทึกสินค้าคงคลังต่อเนื่อง
                - มีการตรวจนับและระบุจำนวนหรือปริมาณสินค้าเป็นหลัก

3. Beverage Inventory Cost Card

4. Bin Card System


การหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง
1. Non – Productive Inventory
                * จำนวนสินค้าคงคลังที่ยังไม่ก่อให้เกิดผลผลิต หรือ มูลค่าของสินค้าคงคลังที่ยังไม่ถูกจ่ายออกไปยังหน่วยผลิต
2. Inventory Turnover Rate
                * อัตราหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง
                * จำนวนครั้งที่มีการเบิกสินค้าคงคลัง เพื่อมาผลิตอาหารและเครื่องดื่มและก่อให้เกิดรายได้ ณ ช่วงเวลาที่กำหนด

สูตร การคำนวณอัตราหมุนเวียนสินค้าคงคลัง
อันตราหมุนเวียนสินค้าคงคลัง  =    ต้นทุนวัตถุดิบที่ใช้ใน 1 เดือน
                                                                    ต้นทุนสินค้าคงคลังเฉลี่ยในเดือนนั้น

ต้นทุนสินค้าคงคลังเฉลี่ย  =    ต้นทุนสินค้าคงคลังเริ่มต้น + ต้นทุนสินค้าคงคลังสิ้นงวด
                                                                                                          2

ตัวอย่าง การหมุนเวียนสินค้าคงคลัง
แป้งขนมปังมีการเบิกใช้ในการผลิตขนมปัง โดยต้นทุนที่ใช้ไปอยู่ที่ 2,300 บาท มียอดต้นทุนของสินค้าคงเหลือจากเดือนที่แล้ว 250 บาท และ มียอดต้นทุนคงเหลือเมื่อสิ้นงวดเดือนนี้ 450 บาท

การรักษาคุณภาพของสินค้าในห้องจัดเก็บ
1. FIFO / LIFO
2. Sanitation
3. Temperature
                * Dry Storage 21 – 25 C
                * Refrigerate Storage 5 C
                * Freezer – 18 C
4. Danger Zone 5 – 57 C
5. FATTOM  6 ปัจจัยที่ทำให้ของเน่าเสีย



การควบคุมการเบิกจ่ายสินค้า
1. เพื่อจำกัดผู้ที่สามารถเข้าออกในพื้นที่จัดเก็บสินค้า
2. เพื่อเปรียบเทียบสินค้าที่จ่ายไปกับใบเบิกของจากฝ่ายผลิต
3. เพื่อบันทึกปริมาณและต้นทุน อาหารและเครื่องดื่มที่ถูกเบิกจ่ายออกจากคลัง ซึ่งจะถูกนำไปบันทึกในบัญชีบันทึกสินค้าต่อเนื่อง และสรุปยอดต้นทุนอาหารและเครื่องดื่มประจำวัน

ขั้นตอนการเบิกจ่ายสินค้า
1. การจัดทำใบเบิกสินค้า
2. การตรวจสอบใบเบิก
3. การเบิกจ่าย
4. การบันทึกข้อมูลการเบิกจ่าย
5. การจัดทำสรุปยอดการเบิกจ่ายและสินค้าคงเหลือ

การเบิกจ่ายเครื่องดื่ม (Beverage Issuing)
* Par Stock จำนวนเครื่องดื่ม (ขวด) ที่ควรคงจำนวนไว้ที่หลังบาร์ (Behind-the-Bar Storage) เสมอ เช่น ถ้าในช่วงที่ขายดีที่สุดจะใช้ วิสกี้ (Whisky) ทั้งหมด 4 ขวดดังนั้น Par Stock ควรกำหนดที่ประมาณ 5 ขวด และถ้าหมดให้นำขวดเปล่ามารับขวดใหม่ เพื่อคงระดับ Bar Par
** ไม่ควรจัดเก็บไว้ที่ Behind-the-Bar Storage จำนวนมากเกินไปเพราะจะทำให้ควบคุมได้ยาก**



*********************************************************